การท่องเที่ยว(Tourism)
ทางการกีฬาหรืองานอดิเรก และการใช้เวลาว่าง จนในปี พ.ศ. 2506
ได้มีการประชุมของสหประชาชาติที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี
ว่าด้วยเรื่องการเดินทางและการท่องเที่ยวระหว่างประเทศนักวิชาการ
เห็นด้วยกับคำจำกัดความของการท่องเที่ยวต่อมาได้กลายเป็น
องค์การท่องเที่ยวโลกในปี พ.ศ 2513
การเดินทางท่องเที่ยวต้องมีลักษณะ ดังนี้
1.เป็นการเดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังที่อื่นเป็นการชั่วคราว
2.เป็นการเดินทางด้วยคงามสมัครใจ
3.เป็นการเดินทางด้วยวัตถุประสงค์ใดๆก็ตามมิใช่เพื่อการประกอบอาชีพและการหารายได้
2.เป็นการเดินทางด้วยคงามสมัครใจ
3.เป็นการเดินทางด้วยวัตถุประสงค์ใดๆก็ตามมิใช่เพื่อการประกอบอาชีพและการหารายได้
ตัวอย่างการเดินทางที่จัดเป็นการท่องเที่ยว
- การเดินทางไปร่วมประชุมต่างๆ เยี่ยมเยือนญาติีพี่น้อง
- การเดินทางไปพักฟื้น หรือรักษาตัวในสถานที่ต่างๆ
ตัวอย่างการเดินทางที่ไม่จัดเป็นการท่องเที่ยว
- การเดินทางไปตั้งถิ่นฐานถาวรในต่างประเทศ
- การเดินทางโดยไม่เต็มใจ อาทิ การถูก บังคับ ขู่เข็ญ ล่อลวง ลี้ภัยทางการเมือง
การท่องเที่ยวมาจากการประชุม ในปี พ.ศ 2506 ที่ประชุมได้ให้ คำนิยามเรียก
การท่องเที่ยวมาจากการประชุม ในปี พ.ศ 2506 ที่ประชุมได้ให้ คำนิยามเรียก
ผู้ที่เข้ามาเพื่อการท่องเที่ยวว่าผู้เยี่ยมเยือน ( Visitor )
จำแนกออกเป็น
1. นักท่องเที่ยว( Tourist )
คือผู้ที่มาเยือนชั่วคราว และพักอาศัย สถานที่ที่ไปเยี่ยมเยือนอย่างน้อย ไม่เกิน 24 ชม.
ด้วยจุดประสงค์เพื่อใช้เวลาว่าง หรือเพื่อประกอบธุรกิจ เยี่ยมเยือนญาติพี่น้อง
2. นักทัศนาจร( Excursionist ) คือผู้มาเยือนชั่วคราว สถานที่ที่ไปเยี่ยมเยือน ไม่เกิน 24 ชม
คือผู้ที่มาเยือนชั่วคราว และพักอาศัย สถานที่ที่ไปเยี่ยมเยือนอย่างน้อย ไม่เกิน 24 ชม.
ด้วยจุดประสงค์เพื่อใช้เวลาว่าง หรือเพื่อประกอบธุรกิจ เยี่ยมเยือนญาติพี่น้อง
2. นักทัศนาจร( Excursionist ) คือผู้มาเยือนชั่วคราว สถานที่ที่ไปเยี่ยมเยือน ไม่เกิน 24 ชม
รวมถึงผู้โดยสารทางเรือสำราญ(Cruise Travellers ) แต่ไม่รวมถึงผู้โดยสารผ่าน (Transit )
กลุ่มนักท่องเที่ยวและนักทัศนาจรทีมีวัตถุประสงค์ในการเดินทางหลากหลาย แบ่งออกเป็น
กลุ่มนักท่องเที่ยว ได้แก่
กลุ่มนักท่องเที่ยว ได้แก่
- ผู้ที่ไม่มีถิ่นพำนักอยู่ในสถานที่ที่ไปเยือน
- ผู้ที่มีสัญชาติของประเทศนั้น หรือเดิมเป็นคนถิ่นนั้นแ่ไม่ได้อาศัยอยู่ ณ สถานที่ที่ไปเยือนนั้นแล้ว
- ผู้ที่มีสัญชาติของประเทศนั้น หรือเดิมเป็นคนถิ่นนั้นแ่ไม่ได้อาศัยอยู่ ณ สถานที่ที่ไปเยือนนั้นแล้ว
กลุ่มนักทัศนาจร ได้แก่
- ผู้โดยสารเรือสำราญ
- ผู้ที่มาเยือนและจากสถานที่นั้นไปภายในวันเดียว
- ผู้ที่เป็นลูกเรือ ซึ่งแวะพักเพียงชั่วคราว น้อยกว่า 24 ชม.
ยังสามารถแบ่งผู้มาเยือนตามถิ่นพำนักได้อีกเช่นกัน ได้แก่
1. ผู้มาเยือนขาเข้า คือ ผู้ที่มีถิ่นพำนักในต่างประเทศและเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในอีกประเทศหนึ่ง
1. ผู้มาเยือนขาเข้า คือ ผู้ที่มีถิ่นพำนักในต่างประเทศและเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในอีกประเทศหนึ่ง
2. ผู้มาเยือนขาออก คือผู้ที่มาเยือนถิ่นพำนักในประเทศหนึ่งและเดินทางไปท่องเที่ยวอีกประเทศหนึ่ง
3. ผู้มาเยือนภายในประเทศ คือ ผู้มาเยือนที่เดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศที่ตนเองพำนักอยู่
3. ผู้มาเยือนภายในประเทศ คือ ผู้มาเยือนที่เดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศที่ตนเองพำนักอยู่
เราเรียกว่าผู้มาเยือนขาเข้า และ ผู้มาเยือนภายในประเทศว่า ผู้มาเยือนในประเทศ ก็ได้
วัตถุประสงค์ของการเดินทาง
1. เพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนานและพักผ่อน
2. เพื่อธุรกิจ
3. เพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ
การเดินทางเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนานและพักผ่อน ( Holiday)
คือ นักท่องเีที่ยวต้องการหลีกหนีความจำเจของชีวิตประจำวัน เพื่อไปชมหรือ
สัมผัสความแปลกใหม่รวมถึงการไปเยี่ยมเยือนเพื่อนหรือญาติพี่น้อง อาทิ
การเดินทางไปอาบแดดชายทะเลหรือ การเดินทางไปเล่นน้ำตก
การเดินทางไปสวนสนุก เป็นต้น
การเดินทางเพื่อธุรกิจ
เป็นการเดินทางที่ควบคู่ไปกับการทำงานแต่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบอาชีพ
หรือหารายได้ รวมถึงการเดินทางเพื่อเข้าประชุม สัมมนา ท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลและ
จัดนิทรรศการ หรือ ที่เรียกว่า MICE( Meeting, Incentives, Conventions and Exhibitions )
การเดินทางเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ
อาจเรียกว่าเป็นการเดินทางด้วยวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น
การเดินทางไปศึกษาธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม การเดินทางไปเผยแผ่ศาสนา
การเดินทางไปรักษาโรคภัยไข้เจ็บ การเดินทางไปแข่งขันกีฬา
ประเภทการท่องเที่ยว แบ่งได้ดังนี้
การแบ่งตามสากล แบ่งตามลักษณะการจัดการเดินทาง
และการแบ่งตามจุดมุ่งหมายของการท่องเที่ยว
การแบ่งตามสากล แบ่งโดยใช้ประเทศเป็นกำหนด ได้แก่
1. การท่องเที่ยวภายในประเทศ หมายถึง ผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศนั้นๆ
เดินทางเที่ยวในประเทศของตนเอง เช่น การเดินทางไปร่วมงาน
เทศกาลสงกรานต์ที่ จ. เชียงใหม่ของคณะสมาชิกเทศบาลอำเภอ ปากเกร็ด
2. การเดินทางเข้ามาในประเทศ หมายถึง ผู้ที่มีถิ่นพำนักที่อื่นเดินทางเข้ามา
ภายในประเทศนั้นๆ เช่น การเดินทางไปเล่นน้ำทะเล ชาวอังกฤษเดินทางไป
จ. บุรีรัมย์ เพื่อชมปราสาทหินพนมรุ้ง
3. การเดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศ หมายถึง ผู้ที่พำนักในประเทศหนึ่ง
เดินทางออกไปยังต่างประเทศ เช่น คนไทยเดินทางไปเที่ยวอังกฤษ
การแบ่งตามลักษณะการจัดการเดินทาง แบ่งออกเป็น
1.การท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ หรือที่เรียกว่า GIT(Group Inclusive Tour)
แบ่งออกอีก 2 ลักษณะคือ
กรุ๊ปเหมา
เป็นการท่องเที่ยวของคณะนักท่องเที่ยวซึ่งสัมพันธ์กัน เช่น
มหาลัยธุรกิจบัณฑิต เดินทางไปทัศนศึกษาที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี
กรุ๊ปจัด
เป็นการท่องเที่ยวของคณะนักท่องเที่ยวซึ่งไม่มีความสัมพันธ์
ทั้งด้านส่วนตัวและด้านหน้าที่การงาน แต่มีควาามต้องการเดินทางไปยังสถานที่เดียวกัน
ทั้งด้านส่วนตัวและด้านหน้าที่การงาน แต่มีควาามต้องการเดินทางไปยังสถานที่เดียวกัน
โดยที่นักท่องเที่ยวแต่ละคนจะซื้อโปรแกรมนำเที่ยว ( Package Tour )
ที่ถูกจัดไว้ เมื่อถึงเวลากำหนด จะออกเดินทางพร้อมกัน
2.การท่องเที่ยวแบบอิสระ เรียกว่า FIT (Foreign Individual Tourism) มักเป็นการเดินทาง
2.การท่องเที่ยวแบบอิสระ เรียกว่า FIT (Foreign Individual Tourism) มักเป็นการเดินทาง
แบบลำพังหรือครอบครัว อาจจะวางแผนการเดินทางด้วยตนเอง
1.การท่องเที่ยวเพื่อความเพลิดเพลินและพักผ่อน
2.การเดินทางเพื่อธุรกิจ
3.การเดินทางเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ แบ่งออกเป็น 5 ประเภทใหญ่ๆ
ข. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและกีฬา เช่น การปีนเขา การอาน้ำแร่
ค. การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม เช่น การชมการรำไทย
ง. การท่องเที่ยวเพื่อสัมผัสชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่น เช่น การชมวิถีชีวิตในชนบท
ค. การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม เช่น การชมการรำไทย
ง. การท่องเที่ยวเพื่อสัมผัสชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่น เช่น การชมวิถีชีวิตในชนบท
ฉ. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา เช่น การเรียนทำอาหารไทย การเรียนมวยไทย
2.มีส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศชาติ
3.มีส่วนช่วยในการลดปัญหาสังคม
4.มีส่วนช่วยในการฟื้นฟู อนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
5.มีส่วนช่วยให้สังคมรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ความสำคัญของการท่องเที่ยวทางด้านเศษฐกิจ
1.สร้างรายได้เป็นเงินตราเข้าประเทศเป็ฯจำนวนมากนับตั้งแต่ปี พ.ศ 2525 เป็นต้นมา
2.การท่องเที่ยวก่อให้เกิดการหมุนเวียนและกระจายรรายได้ไปสู่ท้องถิ่น
3.การท่องเที่ยวก่อให้เกิดการนำเอาทรัพยากรมาใช้อย่างคุ้มค่า
4.การท่องเที่ยวช่วยลดปัญหาการว่างงาน
3.การท่องเที่ยวก่อให้เกิดการนำเอาทรัพยากรมาใช้อย่างคุ้มค่า
4.การท่องเที่ยวช่วยลดปัญหาการว่างงาน
ความสำคัญของการท่องเที่ยวทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
1.มีส่วนช่วยส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์อันดีของมวลมนุษยชาติ
2.มีส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศชาติ
3.มีส่วนช่วยในการลดปัญหาสังคม
4.มีส่วนช่วยในการฟื้นฟู อนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
5.มีส่วนช่วยให้สังคมรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
โดยนำสินค้าท้องถิ่นมาผลิตเป็นสินค้าพื้นเมือง
ความสำคัญของการท่องเที่ยวทางด้านการเมือง
1.ช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2.ช่วยส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยและภาพลักษณ์ที่ดี
มาแสดงความคิดเห็นกับบล็อกเค้าเยอะๆนะ
ตอบลบตัวหนังสือในส่วนของการแบ่งตามลักษณะการจัดการเดินทางมีขนาดไม่เท่ากัน ปรับแก้เนื้อหาให้มีลักษณะเชิงพรรณนาแบบบทความวิชาการ โดยอ้างอิงที่มาของเนื้อหาให้มากกว่านี้ ตัดส่วนที่เป็นสิ่งมหัศจรรย์โลกไปเป็นบทความที่2 แล้วค้นคว้าความเป็นมาทางประวัติศาสตร์เพิ่มพร้อมบอกแหล่งอ้างอิงภาพด้วยครับ
ตอบลบอ.พิทยะ ศรีวัฒนสาร