บ ท คั ด ย่ อ
เรื่อง “Pérégrinação”ถูกตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปีค.ศ.1614เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
ภูมิประเทศประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเหตุการณ์บ้านเมืองต่างๆ
รวมทั้งอัตชีวประวัติของเขาอย่างน่าตื่นเต้นและเหลือเชื่อ
จนมีการใช้ชื่อของปินโตเล่นคำเชิงล้อเลียนว่าพูดจริงหรือเท็จ
อย่างสนุกสนานโดยชนชาติศัตรูของโปรตุเกสในยุโรปหรือแม้แต่ชาวโปรตุเกสบางคน
บันทึกของปินโตถูกอ้างอิงจากนักประวัติศาสตร์ไทยอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาจนปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงบทบาทของทหาร
รักษาพระองค์ชาวโปรตุเกส และการพระราชทานที่ดินให้พวกเขาตั้งถิ่นฐานและ
ปฏิบัติศาสนพิธีในสมัยอยุธยา จึงเป็นที่มาของการตรวจสอบว่าหนังสือฉบับนี้มี
สถานะเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์นิพนธ์หรือเป็นเพียงนิยายผจญภัย
ประวัติของปินโต
เรื่อง “Pérégrinação”ถูกตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปีค.ศ.1614เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
ภูมิประเทศประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเหตุการณ์บ้านเมืองต่างๆ
รวมทั้งอัตชีวประวัติของเขาอย่างน่าตื่นเต้นและเหลือเชื่อ
จนมีการใช้ชื่อของปินโตเล่นคำเชิงล้อเลียนว่าพูดจริงหรือเท็จ
อย่างสนุกสนานโดยชนชาติศัตรูของโปรตุเกสในยุโรปหรือแม้แต่ชาวโปรตุเกสบางคน
บันทึกของปินโตถูกอ้างอิงจากนักประวัติศาสตร์ไทยอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาจนปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงบทบาทของทหาร
รักษาพระองค์ชาวโปรตุเกส และการพระราชทานที่ดินให้พวกเขาตั้งถิ่นฐานและ
ปฏิบัติศาสนพิธีในสมัยอยุธยา จึงเป็นที่มาของการตรวจสอบว่าหนังสือฉบับนี้มี
สถานะเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์นิพนธ์หรือเป็นเพียงนิยายผจญภัย
ประวัติของปินโต
เรื่อง “Pérégrinação”ถูกตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปีค.ศ.1614เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
ภูมิประเทศประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเหตุการณ์บ้านเมืองต่างๆ
รวมทั้งอัตชีวประวัติของเขาอย่างน่าตื่นเต้นและเหลือเชื่อ
จนมีการใช้ชื่อของปินโตเล่นคำเชิงล้อเลียนว่าพูดจริงหรือเท็จ
อย่างสนุกสนานโดยชนชาติศัตรูของโปรตุเกสในยุโรปหรือแม้แต่ชาวโปรตุเกสบางคน
บันทึกของปินโตถูกอ้างอิงจากนักประวัติศาสตร์ไทยอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาจนปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงบทบาทของทหาร
รักษาพระองค์ชาวโปรตุเกส และการพระราชทานที่ดินให้พวกเขาตั้งถิ่นฐานและ
ปฏิบัติศาสนพิธีในสมัยอยุธยา จึงเป็นที่มาของการตรวจสอบว่าหนังสือฉบับนี้มี
สถานะเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์นิพนธ์หรือเป็นเพียงนิยายผจญภัย
ประวัติของปินโต
เรื่อง “Pérégrinação”ถูกตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปีค.ศ.1614เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
ภูมิประเทศประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเหตุการณ์บ้านเมืองต่างๆ
รวมทั้งอัตชีวประวัติของเขาอย่างน่าตื่นเต้นและเหลือเชื่อ
จนมีการใช้ชื่อของปินโตเล่นคำเชิงล้อเลียนว่าพูดจริงหรือเท็จ
อย่างสนุกสนานโดยชนชาติศัตรูของโปรตุเกสในยุโรปหรือแม้แต่ชาวโปรตุเกสบางคน
บันทึกของปินโตถูกอ้างอิงจากนักประวัติศาสตร์ไทยอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาจนปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงบทบาทของทหาร
รักษาพระองค์ชาวโปรตุเกส และการพระราชทานที่ดินให้พวกเขาตั้งถิ่นฐานและ
ปฏิบัติศาสนพิธีในสมัยอยุธยา จึงเป็นที่มาของการตรวจสอบว่าหนังสือฉบับนี้มี
สถานะเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์นิพนธ์หรือเป็นเพียงนิยายผจญภัย
ประวัติของปินโต
ครั้งที่ 2 เข้า
มายังกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช
หลังจากปินโตถึงแก่กรรมความท้อถอย
ในการติดต่อ
กับ
ดินแดนแถบเอเชีย เขาระบุว่าอุทิศการทำงานให้แก่พระเจ้ามิได้หวังชื่อเสียง
เขา
แสดงความ
ขอบคุณพระเจ้าและสวรรค์ที่ช่วยให้รอดพ้นจากภยันตรายมาได้หากไม่เข้าร่วมรบก็จะถูกขับออกไปภายใน 3
วัน
ด้วย
เหตุนี้
จึงมีชาว
โปรตุเกสถึง 120
ในพระ
ราช
พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาว่าเป็นศึกเมืองเชียงกราน
ซึ่งเกิดขึ้นในค.ศ.1538
ดร.เจากิง ดึ
กัมปุชชี้ว่า
บทบาทของ
ทหารอาสา
การเริ่มปรับปรุง
ตำรา
พิชัยสงครามภายใต้การช่วยเหลือของที่ปรึกษาชาวโปรตุเกส
จนเป็นที่มาของการตั้ง “กรมทหารฝารั่ง
แม่นปืน”
ใน
หนังสือ“ศักดินาทหารหัวเมือง”
จนถึงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ความน่าเชื่อถือของ
หนังสือของปินโตถูกตีพิมพ์เผยแพร่
อย่างกว้างขวางในยุโรป จึงเป็นเหตุให้เขาถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงนักประวัติศาสตร์ไทยหลาย
คนเลือกใช้ข้อมูลของปินโตมาอ้างอิงโดยตลอด อาทิ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพในพระราช
พงศาวดาร
ฉบับพระราชหัตถเลขา มานพ ถาวรวัฒน์สกุลในเรื่องขุนนางอยุธยา(2536)
อ้างเรื่องยศขุนนางสมัยอยุธยาตอนกลาง สุเนตร ชุตินทรานนท์ใน
เรื่องบุเรงนองกะยอดินนรธา(2538)
ก็อ้างเอกสารของปินโตซึ่ง
ระบุตรงกับราล์ฟ ฟิตซ์ (Ralph Fitch)ว่า พระเจ้าบุเรงนองนำเอาเรื่อง
การขอช้างเผือกมาเป็นสาเหตุของสงครามระหว่างสยามกับพม่า
ใน ค.ศ.1569เป็นต้น หนังสือ “ Pérégrinação ” ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสยามน้อยมาก
ซึ่งอาจจะอธิบายได้ว่าตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16
ศูนย์กลางของโปรตุเกสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ที่มะละกา
ปินโตจึงให้ความสำคัญต่อมะละกามากกว่ากรุงศรีอยุธยา การที่ราชสำนัก
โปรตุเกสสนใจดินแดนทางใต้ของพม่าและชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจีนก็น่าจะ
มีผลต่อโครงเรื่องของปินโตเช่นกัน การที่เขามีฐานะเป็นเพียงกลาสีเรือ
นักผจญภัย แสวงโชค มิใช่บุตรขุนนางหรือนักการทูต มิใช่พ่อค้าหรือนายทหารที่ถูกส่งเข้ามา
ติดต่อกับสยามโดยตรง ทำให้เนื้อหาส่วนใหญ่ในหนังสือของเขาเน้นกล่าวถึงสถานที่ต่างๆ
ตามชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิกที่เขาเคยเดินทางไปถึงมากกว่า
หลักฐานของปินโตกับปัญหาในการศึกษาชุมชนโปรตุเกสสมัยอยุธยา
ปินโตระบุว่านักสอนศาสนาก็จำเป็นต้องเผยแพร่ศาสนาภายใต้นโยบายของราชสำนัก
หรือผู้สำเร็จราชการโปรตุเกสแห่งเมืองกัวเช่นเดียวกับข้าราชการทั่วไป
เมื่อนักบุญฟรานซิส ซาเวียร์(St. Francis Xavier)จะออกไปเผยแพร่ศาสนาในญี่ปุ่น
ท่านก็ต้องเดินทางจากมะละกาไปยังกัว เพื่อรับฟังนโยบายของผู้สำเร็จราชการโปรตุเกส
แห่งอินเดียเสียก่อน (กรมศิลปากร, 2526 : 35) การที่ปินโตเคยเป็นทูตของข้าหลวงโปรตุเกสแห่งมะละกา
ไปยังรัฐต่างๆในภูมิภาคแถบนี้ อีกทั้งยังเคยเป็นทหารและนักสอนศาสนาของโปรตุเกสด้วย
เขาจึงน่าจะเป็นบุคคลที่มีเกียรติพอที่จะได้รับความเชื่อถือจากผู้มีฐานะ
เป็นศัตรูชาติโปรตุเกสในยุโรปหรือแม้แต่ชาวโปรตุเกสบางคน แต่เขาก็ไม่เคยถูกนักประวัติศาสตร์
โปรตุเกสอาทิ ดูอาร์ตึ บาร์บูซา(Duarte Barbosa) จูอาว ดึ บารอส(João de Baros )
และคาสปาร์ คอร์รีอา(Caspar Correa)เสียดสีเลยแม้แต่น้อย
การกล่าวว่า
กองทัพพม่านำกระบือและแรดมาลากปืนใหญ่เพื่อทำสงครามกับสยามใด
ฉบับแปลของโคแกน
ทำให้วูด(Wood)ชี้ว่างานเขียนของปินโต เป็นหลักฐานเชิงจินตนาการ”
ข้อเสนอของวูดอาจทำให้นักเรียนประวัติศาสตร์เห็นคล้อยไปกับคอนเกรฟที่ระบุว่า
ปินโตเป็นคนขี้ปด โชคดีที่ ดร. เจากิง ดึกัมปุชแย้งว่า ปินโตไม่เคยระบุคำว่า แรด”
คำศัพท์ที่เขาใช้ คือ คำว่า “bada หรือ abada”นั้น ในคริสต์ศตวรรษที่16 หมายถึง สัตว์
ป่าซึ่งมาจาก
รากศัพท์ภาษาสันสกฤตเมื่อกล่าวถึงแรดซึ่งถือเป็นหลักฐานสำคัญในการโต้แย้งประเด็นที่มี
การแปล
“abada” ว่า “แรด”แต่ในภาษาอาหรับก็มีคำว่า “abadat” หมายถึง “สัตว์ที่มีรูปร่างเป็นสีน้ำตาล”
หรือ“สัตว์
ป่า” หรือ “สัตว์เลี้ยงที่หลบหนีไปจนกลายเป็นสัตว์ป่า”ในเวลาต่อมา
ปินโตจะใช้คำว่า “abada” เมื่อกล่าวถึง
“จามรี(yaks)” ซึ่งเป็นสัตว์ต่าง (beast of burden)
ในตาตาเรีย (Tataria) เพราะไม่มีศัพท์ดังกล่าวใน
ภาษาโปรตุเกส
และใช้คำภาษาอาหรับว่า “abida” ในที่อื่นๆอีกร่วม12ครั้งเมื่อกล่าวถึงสัตว์ใหญ่คล้ายแรด
หรือ
สัตว์ต่างชนิดอื่นซึ่งไม่อาจหาคำมาใช้แทนได้
สรุป
ผู้เขียนเห็นว่างานนิพนธ์ของปินโตมีคุณค่าในทางประวัติศาสตร์
มากกว่าจะถูกมองว่าเป็นเพียง
วรรณกรรม
ประโลมโลกหรือนิยายผจญภัยของกลาสีเรือ
แม้เนื้อหาบางตอนจะดูตื่นเต้นเร้าใจเกินกว่าจะมีความ
สมจริงตาม
ทัศนะของนักประวัติศาสตร์ แต่ในสภาวะที่ยุโรปเพิ่งจะพ้นจากยุคแห่งการจุดไฟเผาหญิงสาว
ที่ถูก
ล่าวหาว่าเป็นแม่มดและยังคงเคร่งต่อจริยธรรมทางศาสนา
มีใครบ้างที่จะ
กล้าเปิดเผยต่อสาธารณชนว่าตนเอง
เคยรับประทานเนื้อมนุษย์
เพื่อประทังชีวิตกลางทะเลหลังจากถูกโจรสลัดโจมตี ข้อถกเถียง
ในงานของปินโตอาจจะ
มีอยู่ไม่น้อย
แต่มีหลักฐานประวัติศาสตร์ชิ้นใดบ้างที่ปราศจากคำถามและความเคลือบแคลง
งานของปินโตถูกตั้ง
ข้อสงสัยเกี่ยวกับความแม่นยำของศักราชก็เพราะบันทึกของเขา
เป็นเอกสารที่เขียนขึ้นจากความทรงจำเมื่อเขา
เดินทางกลับไปใช้ชีวิตอยู่ในโปรตุเกสระยะหนึ่งแล้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น